วิกฤตการณ์อ่าวเปอร์เซีย การทำสงครามครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์
29 พฤศจิกายน 2021วิกฤตการณ์อ่าวเปอร์เซีย การทำสงครามครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์
วิกฤตการณ์อ่าวเปอร์เซีย อาจเป็นชื่อที่ฟังดูไม่คุ้นหูสักเท่าไหร่ หากเราพูดถึง สงครามอ่าวเปอร์เซีย สงครามคูเวต หรือ สงครามอิรัก หลายคนน่าจะคุ้นหูคุ้นตากันเป็นอย่างดีเนื่องจากมันเป็นสงครามครั้งใหญ่ระหว่างประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกาและประเทศในดินแดนเอเชียตะวันออกที่เต็มไปด้วยน้ำมันอย่าง อิรัก เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคมปี 2533 จนถึงเดือนมกราคมปี 2534 เป็นปฏิบัติการชั้นๆที่นำมาซึ่งการสะสมกองกำลังและความพยายามในการป้องกันแชมป์ระเบียในการปฏิบัติการพายุทะเลทราย
ในการรบครั้งนี้มีการผสมผสานกองกำลังถึง 34 ชาติด้วยกันเลยทีเดียว ความจริงแล้วเหตุการณ์เหล่านี้เป็นผลพวงมาจากสงครามเย็นเนื่องจากอิรักนั้นเป็นพันธมิตรกับสหภาพโซเวียตซึ่งไม่ลงรอยเลยแม้แต่น้อยกับสหรัฐอเมริกา ด้วยเหตุนี้อเมริกาจึงมีความกังวลในประเทศอิรักเป็นอย่างมากเนื่องจากอิรักนั้นไม่เห็นด้วยกับการสร้างสันติภาพระหว่างอียิปต์และอิสราเอลซึ่งมีความขัดแย้งกันระหว่างชาวปาเลสไตน์และชาวอิสราเอลก่อนหน้านี้อยู่แล้ว อิรักได้ทำการสนับสนุนปาเลสไตน์และกลุ่มอาหรับในการติดอาวุธทำให้สหรัฐไม่ชอบใจเป็นอย่างมาก และทำให้พวกเขาได้ร่วมชื่อของอิรักเข้าไปอยู่ในชื่อของประเทศที่สนับสนุนการก่อการร้ายข้ามชาติในที่สุด ถึงอย่างนั้นอเมริกาก็ยังคงวางตัวเป็นกลางอยู่เสมอจนกระทั่งมี เหตุการณ์ความตึงเครียดในคูเวตในปี 2531 ที่รักต้องเผชิญกับสถานการณ์ล้มละลายและเป็นหนี้กับทั้งคูเวตและซาอุดิอาระเบีย ที่รักพยายามที่จะให้ทั้งสองชาติทำการยกหนี้สินให้แต่กลับถูกปฏิเสธ จากนั้นความขัดแย้งก็ยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นจนกระทั่งในปี 2533 เดือนกรกฎาคมได้ทำการคุกคามโดยใช้กำลังทางการทหารเข้าไปยังคูเวตอย่างเปิดเผย
เหตุการณ์ดังกล่าวนานาชาติได้ทำการประณามอย่างหนักและประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาในสมัยนั้นอย่างนายจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชข้อสอบโอกาสในการส่งกองกำลังทหารสหรัฐเข้าไปยังซาอุดิอาระเบียและทำการรวบรวมกองกำลังของอาณาประเทศในละแวกเดียวกันเข้าร่วมสงครามจนกลายเป็นกองกำลังผสม เป็นครั้งที่มีการรวมพันธมิตรทางการทหารที่ใหญ่ที่สุดหลังจบสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ในช่วงเวลานั้นคนที่ปกครองอิรักอยู่คือ นายซัดดัม ฮุสเซน เขามีความสามารถทางการทหารเป็นอย่างมากจนทำให้อิรักสามารถยึดคูเวตได้สำเร็จและซาอุดิอาระเบียกำลังจะเป็นรายต่อไปที่ถูกคุกคาม เดิมทีซาอุดิอาระเบียให้อีรับยืมเงินเพราะกลัวว่านิกายชีอะห์อาจจะลุกขึ้นมาในการปฏิวัติอิหร่าน ซัดดัม ฮุสเซน จึงมองว่าเขาไม่จำเป็นต้องจ่ายหนี้ก้อนดังกล่าวเนื่องจากเขาได้ทำการตอบแทนซาอุดิอาระเบียด้วยการต่อสู้กับประเทศอิหร่านไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สงครามในครั้งนี้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องยาวนานจนถึงในปัจจุบันอิรักก็ได้กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่เต็มไปด้วยความรุนแรงแม้ว่าสหรัฐจะสามารถจัดการกับผู้นำอย่างซัดดัมได้สำเร็จแล้วก็ตาม